หากต้องการผ่อนคลายความตึงเตียด แต่ไม่มีเวลาไปเข้าคอร์สเรียนโยคะลองฝึกเล่นง่ายๆด้วยตัวเองดังนี้
ความสำคัญของเส้นไยอาหารหรือกากอาหารนั้น ทางการแพทย์ได้ทำการวิจัยแล้วว่า มีประโยชน์ต่อร่างกาย นอกจากจะบรรเทาอาการของโรคในระบบขับถ่าย เช่น โรคท้องผูกแล้วยังช่วยบรร เทาโรคเบาหวานและมะเร็งในลำไส้อีกด้วย ฉะนั้นเราจึงควรทำ ความรู้จักกับชนิดของเส้นใยอาหารให้มากขึ้นดีกว่า
ชนิดของใยอาหารแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
ชนิดไม่ละลายน้ำ (Insoluble Fibre) หรือกากใย จะเป็นใยอาหารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ ทำหน้าที่เก็บกักน้ำ จึงจำเป็นต้องดื่มน้ำมากขึ้นเมื่อบริโภคใยอาหารชนิดนี้เป็นผลทำให้กระเพาะอิ่มเร็ว การรับประทานอาหารที่มีกากใยเป็นประจำ จะช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องตัวขึ้น นอกจากนี้ยังมีประโยชน์เมื่อร่างกายไม่ย่อย ใยอาหารเหล่านี้จะกลายเป็นอาหารของแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ และเกิดการสร้างกรด กรดแล็กติกที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เป็นโทษต่อร่างกาย ใยอาหารประเภทนี้จะพบมากใน ในธัญพืชและถั่วต่างๆ โดยเฉพาะถั่วเปลือกแข็งรำข้าวสาลี และพืชผักผลไม้ใบเขียว
ชนิดไม่ละลายน้ำ (Soluble Fibre) ใยอาหารกลุ่มนี้ที่รู้จักกันดีก็คือ เพกติน ซึ่งพบมากในผล ไม้เกือบทุกชนิด และใยอาหารอีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถละลายในน้ำได้คือ ซิลเลี่ยน พบมากในรำและเปลือก ของเมล็ดพืชบางชนิด การทำงานของใยอาหารประเภทนี้คือดูดซึมน้ำเหมือนกับชนิดแรก แต่ต่างกันตรง ที่จะรวมตัวกับอาหารต่างๆ ในกระเพาะเป็นลักษณะเหนียวหนืดและจะออกทางกระเพาะไปสู่ลำไส้อย่าง ช้าๆ ทำให้หิวช้าลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ถึงแม้กากใยอาหารทั้งสองชนิดที่กล่าวมาแล้วนั้นจะมีความสามารถแตกต่างกัน แต่ความสำคัญไม่น้อยกว่ากันเลย เพราะฉะนั้นเราจึงควรบริโภคใยอาหารที่มาจากแหล่งธรรมชาติจะดีกว่าอาหารเสริม เพราะจะได้ประโยชน์ครบทั้งสองประเภท
ข้อปฏิบัติเพื่อเพิ่มประมาณเส้นใยอาหารในชีวิตประจำวัน
รับประทานผัก ผลไม้สดที่ไม่ต้องปอกเปลือกให้มากขึ้น เช่น แตงกว่า ฝรั่ง แอปเปิ้ล
รับประทานอาหารประเภทถั่วเปลือกแข็ง พืชตระxxxลถั่ว ผลิตภัณฑ์จากถั่วทุกชนิดให้มากขึ้น ยกเว้นผู้ที่มีกรดยูริกสูง
รับประทานผักสดอย่างน้อยวันละ 1-2 ถ้วย และอัตราการบริโภคใยอาหารในแต่ละวันไม่ควรต่ำกว่า 20 กรัม
พยายามหาผลไม้รับประทานแทนขนมหวานหลังอาหาร หรือจะพกขนมขบเคี้ยวที่มีส่วนผสมของข้าวสาลีติดกระเป๋าไว้ก็จะสะดวกยิ่งขึ้น
หลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านกรรมวิธีทำลายใยอาหารเช่น ขัดสีหรือเคี่ยวจนเละ
ความสำคัญของเส้นไยอาหารหรือกากอาหารนั้น ทางการแพทย์ได้ทำการวิจัยแล้วว่า มีประโยชน์ต่อร่างกาย นอกจากจะบรรเทาอาการของโรคในระบบขับถ่าย เช่น โรคท้องผูกแล้วยังช่วยบรร เทาโรคเบาหวานและมะเร็งในลำไส้อีกด้วย ฉะนั้นเราจึงควรทำ ความรู้จักกับชนิดของเส้นใยอาหารให้มากขึ้นดีกว่า
ชนิดของใยอาหารแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
ชนิดไม่ละลายน้ำ (Insoluble Fibre) หรือกากใย จะเป็นใยอาหารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ ทำหน้าที่เก็บกักน้ำ จึงจำเป็นต้องดื่มน้ำมากขึ้นเมื่อบริโภคใยอาหารชนิดนี้เป็นผลทำให้กระเพาะอิ่มเร็ว การรับประทานอาหารที่มีกากใยเป็นประจำ จะช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องตัวขึ้น นอกจากนี้ยังมีประโยชน์เมื่อร่างกายไม่ย่อย ใยอาหารเหล่านี้จะกลายเป็นอาหารของแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ และเกิดการสร้างกรด กรดแล็กติกที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เป็นโทษต่อร่างกาย ใยอาหารประเภทนี้จะพบมากใน ในธัญพืชและถั่วต่างๆ โดยเฉพาะถั่วเปลือกแข็งรำข้าวสาลี และพืชผักผลไม้ใบเขียว
ชนิดไม่ละลายน้ำ (Soluble Fibre) ใยอาหารกลุ่มนี้ที่รู้จักกันดีก็คือ เพกติน ซึ่งพบมากในผล ไม้เกือบทุกชนิด และใยอาหารอีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถละลายในน้ำได้คือ ซิลเลี่ยน พบมากในรำและเปลือก ของเมล็ดพืชบางชนิด การทำงานของใยอาหารประเภทนี้คือดูดซึมน้ำเหมือนกับชนิดแรก แต่ต่างกันตรง ที่จะรวมตัวกับอาหารต่างๆ ในกระเพาะเป็นลักษณะเหนียวหนืดและจะออกทางกระเพาะไปสู่ลำไส้อย่าง ช้าๆ ทำให้หิวช้าลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ถึงแม้กากใยอาหารทั้งสองชนิดที่กล่าวมาแล้วนั้นจะมีความสามารถแตกต่างกัน แต่ความสำคัญไม่น้อยกว่ากันเลย เพราะฉะนั้นเราจึงควรบริโภคใยอาหารที่มาจากแหล่งธรรมชาติจะดีกว่าอาหารเสริม เพราะจะได้ประโยชน์ครบทั้งสองประเภท
ข้อปฏิบัติเพื่อเพิ่มประมาณเส้นใยอาหารในชีวิตประจำวัน
รับประทานผัก ผลไม้สดที่ไม่ต้องปอกเปลือกให้มากขึ้น เช่น แตงกว่า ฝรั่ง แอปเปิ้ล
รับประทานอาหารประเภทถั่วเปลือกแข็ง พืชตระxxxลถั่ว ผลิตภัณฑ์จากถั่วทุกชนิดให้มากขึ้น ยกเว้นผู้ที่มีกรดยูริกสูง
รับประทานผักสดอย่างน้อยวันละ 1-2 ถ้วย และอัตราการบริโภคใยอาหารในแต่ละวันไม่ควรต่ำกว่า 20 กรัม
พยายามหาผลไม้รับประทานแทนขนมหวานหลังอาหาร หรือจะพกขนมขบเคี้ยวที่มีส่วนผสมของข้าวสาลีติดกระเป๋าไว้ก็จะสะดวกยิ่งขึ้น
หลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านกรรมวิธีทำลายใยอาหารเช่น ขัดสีหรือเคี่ยวจนเละ