คอเลสเตอรอล ปัจจุบันเราก็ทราบกันดีแล้วว่า คอเลสเตอรอลเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดเส้นเลือดอุดตัน ปกติหลอดเลือด (เป็นทางผ่านของเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายหรือนำเลือดกลับสู่หัว ใจ) มีลักษณะราบเรียบเลือดไหลผ่านไปได้สะดวก เมื่อมีคอเลสเตอรอลมาจับที่ผนังหลอดเลือด ทำให้เยื่อบุผนังหนาขึ้นเป็นก้อนนูนยื่นเข้าไป ภายในหลอดเลือด อาจมีหินปูนมาจับที่ก้อนนูนนี้ ได้ทำให้เลือดไหลผ่านไม่สะดวกเกิดเป็นก้อนเลือดอุดตัน เราเรียกภาวะนี้ว่า ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง เป็นสาเหตุใหญ่ทำให้เกิดโรงหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญอื่นๆ ก็จะทำให้ เกิดอันตรายกับอวัยวะนั้นได้ เช่น หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองก็จะทำให้เป็นอัมพาตได้
คอเลสเตอรอลคืออะไร /color] คอเลสเตอรอลเป็นไขมันชนิดหนึ่งที่มีมากในสัตว์ไข่แดง เครื่องในต่างๆ ไขมันพืชจะไม่ มีคอเลสเตอรอล นอกจากนี้การเผาผลาญอาหารประเภท แป้ง ไขมัน โปรตีน โดยมีตับและลำไส้ ทำหน้าที่สังเคราะห์ คนเราโดยปกติจะมีคอเลสเตอรอล ระดับ 150-250 มก./ดล. ถ้าสูงกว่า 2610 มก./ดล. โอกาสแห่งมหันตภัยจากเส้นเลือดอุดตันก็เพิ่มตามไปด้วย คอเลสเตอรอลเป็น ไขมันจึงไม่ละลายในน้ำ เวลาอยู่ในเลือดจึงต้องรวมกับสารโปรตีนในเลือดที่เรียกว่าไลโปโปรตีน จึงจะลอยตัวในเลือด ซึ่งที่สำคัญแบ่งได้เป็น - ไลโปโปรตีน ที่มีความหนาแน่นสูง (High Density Lipoprotine HDL) จะทำ หน้าที่นำคอเลสเตอรอลในเลือดหรือผนังหลอดเลือดไปกำจัดออกที่ตับ - ไลโปโปรตรีน ที่มีความหนาแน่นต่ำ (Low Density Lipoprotine LDL) จะทำ หน้าที่นำคอเลสเตอรอลมาสะสมที่ผนังหลอดเลือด ดังนั้น ถ้าร่างกายมี HDL สูง โอกาสที่คอเลสเตอรอลจับที่ผนังหลอดเลือดก็ลดลง
การลดคอเลสเตอรอล /color]
1. ลดการรับประทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง เช่น พวกแป้ง ไขมันจากสัตว์ เครื่องใน สัตว์ เป็นต้น
2. ทำให้ HDL ในเลือดเพิ่มขึ้น โดย
2.1 รับประทานกรดไลโนโลอิก อย่างเพียงพอให้ได้ร้อยละ 10 ของพลังงานทั้งหมด ที่ได้รับ ซึ่งกรดไลโนเลอิกมีในน้ำมันพืชทั่วไป
2.2 ออกกำลังกายสม่ำเสมอ งดการสูบบุหรี่
2.3 ทำจิตใจให้สบาย ไม่เครียด
3. รับประทานผักสด ผลไม้ให้มากขึ้น
วิตามิน อี ทำหน้าที่ได้อย่างไร /color] ในมนุษย์เราวิตามินอี เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่ามีหน้าที่เป็นตัวแอนติออกซิแดนต์ ช่วยป้อง กันรักษาสุขภาพ และคงไว้ซึ่งความคงทนของเนื้อเยื่อและเซลล์ของร่างกาย เนื้อเยื่อของร่างกาย เราประกอบด้วยสารจำพวกฟอสโฟ-ไลปิด (ไขมันชนิดหนึ่ง) ซึ่งถูกออกซิเจนสลายได้ ทำให้ เซลล์ของร่างกายสูญเสียความคงทน อสโฟไลปิด ประกอบด้วยกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว แรงยึด เหนี่ยวของกรดไขมันชนิดนี้ถูกออกซินเจนทำลายได้โดยง่าย และจะสลายตัวกลายเป็นกรดไขมัน ชนิดใหม่ ซึ่งเป็นอันตราายต่อเซลล์ของร่างกาย กรดไขมันที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ของร่างกายนี้ เป็นสารพวกเปอร์ออกไซด์ ซึ่งจะเกิดขึ้นมากหรือน้อยก็ขึ้นกับปริมาณของกรดไขมันไม่อิ่มตัวใน เนื้อเยื่อ ตัวอย่างของการเกิดสารเปอร์ออกไซด์ที่เห็นได้ง่าย ก็คือ เนยและน้ำมันพืชที่มีกลิ่นเหม็น หืน วิตามิน อี จะป้องกันไม่ให้ออกซินเจนไปทำลายแรงยึดเหนี่ยวของกรดไขมันนี้โดยผ่านกระบวนการทางเอนไซม์ อนุมูลอิสระซึ่งเกิดขึ้นทั้งภายในเซลล์และนอกเซลล์ของร่างกายเป็นสารที่ไม่อยู่ตัว สารเหล่านี้จะปฏิกริยากับสารอื่นๆ ได้รวดเร็ว อนุมูลอิสระหรือที่เรียกว่าอนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์ สามารถผลิตขึ้นได้ในเซลล์ของร่างกายด้วยวิธีออกซิไดซ์ตัวมันเอง หรือผ่านกระบวนการเอนไซม์ สารเหล่านี้เป็นพิษต่อเซลล์ของร่างกาย ทำให้เซลล์สูญเสียความคงทน ทว่ามันก็มีประโยชน์อยู่บ้าง เช่น เม็ดเลือดขาวในร่างกายเราใช้สารนี้ทำลายเชื้อโรคและตอบสนองต่อการอักเสบ อย่างไรก็ตามถ้าเกิดสารนี้มากไปโดยไม่มีการควบคุม มันจะทำลายเนื้อเยื่อและดีเอ็นเอ ให้เสื่อมสลายได้ ดีเอ็นเอ เป็นสารสำคัญในนิวเคลียสของเซลล์ที่ควบคุมการแบ่งเซลล์และการ ทำงานปกติภายในเซลล์
หมายเหตุ ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และหัวใจรูมาติก รับประทานได้ไม่เกินวันละ 50-100 มก. หรือควรปรึกษาแพทย์
ข้อมูลจาก
วารสารอาหารและสุขภาพ
คอเลสเตอรอลคืออะไร /color] คอเลสเตอรอลเป็นไขมันชนิดหนึ่งที่มีมากในสัตว์ไข่แดง เครื่องในต่างๆ ไขมันพืชจะไม่ มีคอเลสเตอรอล นอกจากนี้การเผาผลาญอาหารประเภท แป้ง ไขมัน โปรตีน โดยมีตับและลำไส้ ทำหน้าที่สังเคราะห์ คนเราโดยปกติจะมีคอเลสเตอรอล ระดับ 150-250 มก./ดล. ถ้าสูงกว่า 2610 มก./ดล. โอกาสแห่งมหันตภัยจากเส้นเลือดอุดตันก็เพิ่มตามไปด้วย คอเลสเตอรอลเป็น ไขมันจึงไม่ละลายในน้ำ เวลาอยู่ในเลือดจึงต้องรวมกับสารโปรตีนในเลือดที่เรียกว่าไลโปโปรตีน จึงจะลอยตัวในเลือด ซึ่งที่สำคัญแบ่งได้เป็น - ไลโปโปรตีน ที่มีความหนาแน่นสูง (High Density Lipoprotine HDL) จะทำ หน้าที่นำคอเลสเตอรอลในเลือดหรือผนังหลอดเลือดไปกำจัดออกที่ตับ - ไลโปโปรตรีน ที่มีความหนาแน่นต่ำ (Low Density Lipoprotine LDL) จะทำ หน้าที่นำคอเลสเตอรอลมาสะสมที่ผนังหลอดเลือด ดังนั้น ถ้าร่างกายมี HDL สูง โอกาสที่คอเลสเตอรอลจับที่ผนังหลอดเลือดก็ลดลง
การลดคอเลสเตอรอล /color]
1. ลดการรับประทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง เช่น พวกแป้ง ไขมันจากสัตว์ เครื่องใน สัตว์ เป็นต้น
2. ทำให้ HDL ในเลือดเพิ่มขึ้น โดย
2.1 รับประทานกรดไลโนโลอิก อย่างเพียงพอให้ได้ร้อยละ 10 ของพลังงานทั้งหมด ที่ได้รับ ซึ่งกรดไลโนเลอิกมีในน้ำมันพืชทั่วไป
2.2 ออกกำลังกายสม่ำเสมอ งดการสูบบุหรี่
2.3 ทำจิตใจให้สบาย ไม่เครียด
3. รับประทานผักสด ผลไม้ให้มากขึ้น
วิตามิน อี ทำหน้าที่ได้อย่างไร /color] ในมนุษย์เราวิตามินอี เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่ามีหน้าที่เป็นตัวแอนติออกซิแดนต์ ช่วยป้อง กันรักษาสุขภาพ และคงไว้ซึ่งความคงทนของเนื้อเยื่อและเซลล์ของร่างกาย เนื้อเยื่อของร่างกาย เราประกอบด้วยสารจำพวกฟอสโฟ-ไลปิด (ไขมันชนิดหนึ่ง) ซึ่งถูกออกซิเจนสลายได้ ทำให้ เซลล์ของร่างกายสูญเสียความคงทน อสโฟไลปิด ประกอบด้วยกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว แรงยึด เหนี่ยวของกรดไขมันชนิดนี้ถูกออกซินเจนทำลายได้โดยง่าย และจะสลายตัวกลายเป็นกรดไขมัน ชนิดใหม่ ซึ่งเป็นอันตราายต่อเซลล์ของร่างกาย กรดไขมันที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ของร่างกายนี้ เป็นสารพวกเปอร์ออกไซด์ ซึ่งจะเกิดขึ้นมากหรือน้อยก็ขึ้นกับปริมาณของกรดไขมันไม่อิ่มตัวใน เนื้อเยื่อ ตัวอย่างของการเกิดสารเปอร์ออกไซด์ที่เห็นได้ง่าย ก็คือ เนยและน้ำมันพืชที่มีกลิ่นเหม็น หืน วิตามิน อี จะป้องกันไม่ให้ออกซินเจนไปทำลายแรงยึดเหนี่ยวของกรดไขมันนี้โดยผ่านกระบวนการทางเอนไซม์ อนุมูลอิสระซึ่งเกิดขึ้นทั้งภายในเซลล์และนอกเซลล์ของร่างกายเป็นสารที่ไม่อยู่ตัว สารเหล่านี้จะปฏิกริยากับสารอื่นๆ ได้รวดเร็ว อนุมูลอิสระหรือที่เรียกว่าอนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์ สามารถผลิตขึ้นได้ในเซลล์ของร่างกายด้วยวิธีออกซิไดซ์ตัวมันเอง หรือผ่านกระบวนการเอนไซม์ สารเหล่านี้เป็นพิษต่อเซลล์ของร่างกาย ทำให้เซลล์สูญเสียความคงทน ทว่ามันก็มีประโยชน์อยู่บ้าง เช่น เม็ดเลือดขาวในร่างกายเราใช้สารนี้ทำลายเชื้อโรคและตอบสนองต่อการอักเสบ อย่างไรก็ตามถ้าเกิดสารนี้มากไปโดยไม่มีการควบคุม มันจะทำลายเนื้อเยื่อและดีเอ็นเอ ให้เสื่อมสลายได้ ดีเอ็นเอ เป็นสารสำคัญในนิวเคลียสของเซลล์ที่ควบคุมการแบ่งเซลล์และการ ทำงานปกติภายในเซลล์
หมายเหตุ ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และหัวใจรูมาติก รับประทานได้ไม่เกินวันละ 50-100 มก. หรือควรปรึกษาแพทย์
ข้อมูลจาก
วารสารอาหารและสุขภาพ